สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น

KMITL MASTERCLASS
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Category Legend
วิชานี้มี Certificate

ราคา

1,000 บาท

เกี่ยวกับคอร์ส

ศึกษารูปแบบอาคารพื้นถิ่นของไทยในภาคต่างๆ วิเคราะห์รูปทรงที่เกิดขึ้นอันเป็นผลจากค่านิยม วัฒนธรรม แบบแผนประเพณี วัสดุก่อสร้างตลอดจนสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อให้เกิดความสำนึกในคุณค่าของงานออกแบบระดับพื้นบ้านของไทย

วัตถุประสงค์

สามารถวิเคราะห์รูปทรงที่เกิดขึ้นอันเป็นผลจากค่านิยม วัฒนธรรม แบบแผนประเพณี วัสดุก่อสร้างตลอดจนสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อให้เกิดความสำนึกในคุณค่าของงานออกแบบระดับพื้นบ้านของไทย

บทเรียนทั้งหมด (9 บท)

1 ตอนที่ 1 Introduction   

  

- แนะนำตัวผู้สอน ประสบการณ์การทำงาน ความเชี่ยวชาญ - หัวข้อและเนื้อหาที่จะสอนทั้ง 8 ครั้ง

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

ผศ.ดร.ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ

ผศ.ธีรชัย ลี้สุรพลานนท์

2 ตอนที่ 2 ความเป็นมาของการเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น   

  

ที่มาของวิชาสถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. ซึ่งนับเป็นการบุกเบิกการเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในสถาบันการศึกษาในประเทศไทย

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

3 ตอนที่ 3 ความหมาย คุณค่าและความสำคัญของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น   

  

ความหมายโดยทั่วไปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular Architecture), คุณค่าและความสำคัญของสถาปัตยกรรม สภาพแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

4 ตอนที่ 4 แนวทางการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น   

  

วิธีการศึกษา การเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์จากการออกภาคสนาม และวิธีการวิเคราะห์คุณค่าสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทย

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

5 ตอนที่ 5 มรดกสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมท้องถิ่นไทยในอดีต   

  

ย้อนอดีตกับภาพบันทึกมรดกสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมท้องถิ่นไทยในอดีตอันทรงคุณค่า จากการเก็บข้อมูล การออกภาคสนามของ รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

6 ตอนที่ 6 การเปลี่ยนแปลงและการดำรงอยู่ของมรดกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น   

  

ความเปลี่ยนแปลงของมรดกสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อมท้องถิ่นไทย ปัจจัยที่ช่วยดำรงไว้ซึ่งมรดก ให้อยู่ร่วมกับกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

7 ตอนที่ 7 แนวทางการประยุกต์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นสู่การออกแบบร่วมสมัย   

  

เสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์เพื่อเป็นแนวทางในการประยุกต์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย อันเป็นการต่อยอดจากรากฐานทางสังคมและวัฒนธรรม

ผศ.ธีรชัย ลี้สุรพลานนท์

8 ตอนที่ 8 ทางเลือกและการเปลี่ยนแปลงมรดกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (ตอนที่ 1)   

  

ความสำคัญของการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น การเปลี่ยนแปลงตามสภาพเศรษฐกิจ

ผศ.ดร.ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ

9 ตอนที่ 9 ทางเลือกและการเปลี่ยนแปลงมรดกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (ตอนที่ 2)   

  

ปัจจัยที่มีผลต่อสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ลักษณะทางสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง

ผศ.ดร.ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ

ผู้สอน

รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์

ผู้บุกเบิกวิชา สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น

ได้รับพระราชทาน ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากคณะสถาปัตยกรรม ศิลปะ และการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดก..

ผศ.ดร.ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ

อาจารย์คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะ และการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผศ.ธีรชัย ลี้สุรพลานนท์

อาจารย์คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะ และการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

สำเร็จการศึกษา สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถาปัตยกรรมไทย) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สหมวด Legend

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save